ด้วงสาคู for Dummies

Your browser isn’t supported anymore. Update it to get the most effective YouTube expertise and our most recent functions. Learn more

นี่เป็นผลิตผลที่จะได้จากการเลี้ยงด้วงสาคูโดยธรรมชาติ หลังจากหนอนด้วงโตเต็มวัยพร้อมจับขายได้แล้ว พื้นที่เพาะเลี้ยงจะมีเศษอาหารและมูลด้วงสะสมอยู่ ก็สามารถตักไปทำปุ๋ยเพื่อจำหน่ายต่อได้ ราคาจำหน่ายของปุ๋ยจะขึ้นอยู่กับวิธีการแปรรูป เช่น ถ้านำไปหมักเป็นปุ๋ยน้ำก็จะได้ราคาแพงกว่าปุ๋ยด้วงสาคูที่ไม่ได้ผ่านกระบวนการอะไรเลย เป็นต้น

Your browser isn’t supported any longer. Update it to find the greatest YouTube experience and our most up-to-date features. Find out more

ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เป็นแมลงพื้นถิ่นที่นิยมเลี้ยงและบริโภคกันมากในพื้นที่ภาคใต้ เนื่องจากมีพืชอาหารที่สำคัญคือ ต้นลานหรือต้นสาคู โดยจะเลี้ยงบนท่อนลาน หรือท่อนสาคู ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงแบบประยุกต์ คือการนำไปเลี้ยงในกะละมัง และนำต้นสาคูบดมาเป็นอาหารเลี้ยงในกะละมัง ทำให้สะดวกในการเลี้ยงมากขึ้น สามารถใช้พื้นที่ในการเลี้ยงที่จำกัด ต่อมาได้ขยายพื้นที่การเลี้ยงไปยังภาคอื่น ๆ ในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสามารถขนส่งสาคูบดไปยังทุกภูมิภาคต่าง ๆ ได้สะดวก นอกจากนี้ยังสามารถใช้พืชอาหารอื่นทดแทนต้นสาคูและต้นลานได้ เช่น มันสำปะหลังเนื่องจากมีลักษณะเป็นแป้ง จึงนำมาผสมเป็นสูตรอาหารสำหรับด้วงได้สะดวกมากขึ้น และในปัจจุบันมีผู้คิดค้นสูตรอาหารสำหรับเลี้ยงอย่างหลากหลาย จึงทำให้สามารถเลี้ยงได้ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) นำมาปรุงอาหารหลากหลายเมนู เช่น ทอด ปิ้ง คั่วเกลือ ผัด เป็นต้น

ส่วนขั้นตอนการจัดการเลี้ยงด้วงสาคู มีขั้นตอนดังนี้

แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อแนะนำที่ควรระวังในการเลี้ยงด้วย เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นปาล์ม มะพร้าว ลาน และสาคู จึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเต็มวัยเล็ดลอดสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด

คลังข้อมูล ข้อมูลพันธุ์ไม้ประเทศไทย รั้วต้นไม้

หมวดหมู่: แมลงอบแห้ง ป้ายกำกับ: ด้วงสาคู, ด้วงสาคู, ด้วงสาคู รายละเอียด รายละเอียด

ข้ามไปเนื้อหา ด้วงสาคู เมนูหลัก เมนูหลัก

ศูนย์ประสานงานสารนิเทศ สาขาเกษตรศาสตร์

ศัตรูของด้วงสาคู เนื่องจากตัวอ่อนของด้วงสาคูนั้นเป็นอาหารอันโอชะของสัตว์หลายชนิด การปิดล้อมโรงเรือนด้วยตาข่ายที่ได้มาตรฐานก็จะช่วยกันสัตว์ใหญ่ได้ในระดับหนึ่ง แต่สำหรับมดและสัตว์ที่มีขนาดเล็กก็นับว่าป้องกันได้ยากพอสมควร หากในพื้นที่มีมดปริมาณมาก ให้ทำร่องน้ำรอบโรงเรือนเพิ่มเติม พร้อมทั้งหมั่นตรวจสอบความเรียบร้อยของโรงเรือนอย่างสม่ำเสมอ

ค้นหาขั้นสูง คำค้นหายอดนิยม การทำนา

แต่อย่างไรก็ตาม มีข้อแนะนำที่ควรระวังในการเลี้ยงด้วย เนื่องจากแมลงชนิดนี้เป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นปาล์ม มะพร้าว ลาน และสาคู จึงไม่ควรปล่อยให้ตัวเต็มวัยเล็ดลอดสู่ธรรมชาติโดยเด็ดขาด

กฟผ. ใช้คุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการทำงานของเว็บไซต์ และ กฟผ. จะใช้คุกกี้ทางเลือกเพื่อการวิเคราะห์ พัฒนา และปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เมื่อได้รับอนุญาตจากท่าน ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ นโยบายการใช้คุกกี้ของ กฟผ.

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *